ยางพารา

ความต้องการธาตุอาหารของยางพารา

ธาตุ ใบยางพาราจากต้นที่มีอายุ
กล้ายาง 1 - 5 ปี มากกว่า 5 ปี
ไนโตรเจน (%) 1.61 - 2.26 3.13 - 3.90 3.31 - 3.90
ฟอสฟอรัส (%) 0.118 - 0.134 0.18 - 0.29 0.20 - 0.27
โพแทสเซียม (%) 0.60 - 0.91 0.97 - 1.60 1.37 - 1.85

  

การใช้ปุ๋ยทางดินกับยางพารา
การใช้ปุ๋ยทางดินมี 3 แนวทาง
1. พิจารณาจากระยะการเจริญเติบโต (ก่อนเปิดกรีดหรือหลังเปิดกรีด) และเขตการปลูกยาง (เขตการปลูกยางเดิมหรือเขตปลูกยางใหม่) ซึ่งใช้อัตราปุ๋ยธาตุหลัก (กิโลกรัม/ไร่/ปี)

เขตปลูกยาง เนื้อดิน ปริมาณธาตุอาหาร (กิโลกรัม/ไร่/ปี)
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม รวม
ยางก่อนเปิดกรีด          
เขตปลูกยางเดิม ดินร่วนเหนียว 7.0 2.8 7.0 16.8
  ดินร่วนทราย 9.6 3.9 9.6 23.1
เขตปลูกยางใหม่ ดินร่วนเหนียว 5.5 2.7 3.3 11.5
  ดินร่วนทราย 7.7 2.7 6.6 17.0
ยางหลังเปิดกรีด          
ทุกเขตปลูกยาง ดินทุกชนิด 22.8 3.8 13.7 40.3
หมายเหตุ: ต้นยาง 76 ต้น/ไร่

2. พิจารณาจากเนื้อดินในพื้นที่ปลูกยางและอายุของต้นยาง (1 - 6 ปี) สำหรับสูตรปุ๋ย และอัตราปุ๋ยสำหรับยางพาราที่ปลูกในดินซึ่งมีเนื้อดินต่างกัน

สูตร/อัตราปุ๋ย ยางก่อนเปิดกรีด/เขตปลูก
ยางเดิม
ยางก่อนเปิดกรีด/เขตปลูก
ยางใหม่
ยางหลังเปิดกรีด
ดินร่วนเหนียว ดินร่วนทราย ดินร่วนเหนียว ดินร่วนทราย ดินทุกชนิด
สูตรปุ๋ย 20-8-20 20-8-20 20-10-12 20-10-17 29-5-18
อัตราปุ๋ย
ปีที่ 1
ปีที่ 2
ปีที่ 3
ปีที่ 4
ปีที่ 5
ปีที่ 6

23
34
35
37
40
41

31
47
49
50
55
56

18
26
27
27
31
31

23
31
32
37
43
50

76
76
76
76
76
76

3. พิจาณาจากผลการวิเคราะห์ดิน ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ที่เป็น ประโยชน์ในดินซึ่งแบ่งเป็น 12 แบบ ชาวสวนยางที่มีผลการวิเคราะห์ดินก็นำผลที่ได้รับมา เปรียบเทียบกับข้อมูล แล้วเลือกอัตราปุ๋ยธาตุหลักที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ดิน

แบบ ค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหาร (กก./ไร่/ปี)
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
1
2
3
4
< 0.11
< 0.11
< 0.11
< 0.11
< 11
< 11
> 11
> 11
< 40
> 40
< 40
> 40
22.8
22.8
22.8
22.8
7.6
7.6
3.8
3.8
18.2
13.7
18.2
13.7
6
7
8
0.11 - 0.25
0.11 - 0.25
0.11 - 0.25
< 11
> 11
> 11
> 40
< 40
> 40
16.7
16.7
16.7
7.6
3.8
3.8
13.7
18.2
13.7
9
10
11
12
> 0.25
> 0.25
> 0.25
> 0.25
< 11
< 11
> 11
> 11
< 40
> 40
< 40
> 40
11.4
11.4
11.4
11.4
7.6
7.6
3.8
3.8
18.2
13.7
18.2
13.7

  

การใช้ผลิตภัณฑ์แอมเวย์เพื่อฟื้นฟูสภาพดินในสวนยางพารา
สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ฟื้นฟูสภาพดิน โดยใช้แอ็ปซ่า-80 อัตรา 10 - 20 ซีซี และนิวทริแพลนท์ ซอยล์ พลัส อัตรา 100 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นพื้นที่ประมาณ 1 ไร่

การใช้แอ็ปซ่า-80 และนิวทริแพลนท์
ซอยล์ พลัส ร่วมกับปุ๋ยทางดินใน
สวนยางพารา

แอ็ปซ่า-80 ใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อให้ทางดิน โดยใช้อัตรา
100 ซีซี นิวทริแพลนท์ ซอยล์ พลัส อัตรา 100 ซีซี
ผสมน้ำประมาณ 700 - 1,000 ซีซี รดลงในกระสอบบรรจุ
ปุ๋ย 50 กิโลกรัม ทิ้งไว้ 8 - 12 ชั่วโมง ก่อนนำไปหว่าน
จะช่วยให้ปุ๋ยซึมลงสู่ดินได้ดีขึ้น
**ไม่แนะนำให้ใช้กับปุ๋ยละลายเร็ว เช่น ปุ๋ยยูเรียและ
ปุ๋ยน้ำตาลทราย

การใช้ปุ๋ยทางใบกับยางพารา
แม้ชาวสวนยางพาราจะบำรุงดินด้วยปุ๋ยทางดินแล้วก็ตาม แต่ต้นยางพาราอาจจะได้รับธาตุอาหารไม่เพียงพอ เป็นเหตุให้เจริญเติบโตช้าหรือให้น้ำยางน้อย การใช้ปุ๋ยทางใบที่ดีและใช้อย่างถูกต้อง เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ต้นยางเจริญเติบโตดีขึ้นและให้ผลผลิตน้ำยางมากขึ้นด้วย

การใช้ผลิตภัณฑ์แอมเวย์ฉีดพ่นทางใบเพิ่มผลผลิตให้ยางพารา

สูตร ยางพารายังไม่เปิดกรีด
ฉีดพ่นเดือนละ 1 ครั้ง
ยางพาราเปิดกรีดแล้ว
ฉีดพ่นทุก 15 วัน
20-10-12 (ดินเหนียว) 20-10-20 (ดินทราย) 30-5-18 ดินทุกประเภท
APSA-80 2 - 3 ซีซี 2 - 3 ซีซี 2 - 3 ซีซี
N 60 ซีซี 60 ซีซี 35 ซีซี
N-P-K 55 ซีซี 55 ซีซี 10 ซีซี
K 10 ซีซี 35 ซีซี 20 ซีซี
AG 30 ซีซี 30 ซีซี 30 ซีซี
Ca-B 40 ซีซี 40 ซีซี 30 ซีซี
**อัตราการผสมต่อน้ำ 20 ลิตร**

การใช้แอ็ปซ่า-80 ร่วมกับสารกำจัดศัตรูพืชในสวนยางพารา

ชนิดของสารเคมี อัตราการใช้แอ็ปซ่า-80 ต่อน้ำ 20 ลิตร อัตราการใช้แอ็ปซ่า-80 ต่อน้ำ 200 ลิตร
สารป้องกันกำจัดแมลง 2 - 5 ซีซี 20 - 50 ซีซี
สารกำจัดวัชพืช 5 - 10* ซีซี 50 - 100* ซีซี
สารกำจัดโรคพืช 2 - 5 ซีซี 20 - 50 ซีซี
* อัตราการใช้สารกำจัดวัชพืชค่อนข้างสูงกับพื้นที่ไม่มีพืชปลูก กรณีมีพืชปลูกใช้ประมาณ 2 - 5 ซีซี